Working in Japan
หลายๆท่านคงมีความคิดความหวังต่างๆกันไป ไม่ว่าจะ
“อยากเรียนทักษะและความรู้การบริบาลที่ญี่ปุ่น”
“อยากทำงานบริบาลที่ญี่ปุ่น”
ในตอนนี้ ที่ญี่ปุ่นหรือที่ประเทศของทุกท่านเองยังคงต่อสู้กับเชื้อไวรัสโควิดและหาทางดำเนินชีวิตกันต่อไป
หรือหากท่านได้มาที่ญี่ปุ่น โอกาสที่จะได้กลับไปที่บ้านบ้าง ก็อาจจะยังค่อนข้างยาก
อย่างไรก็ตาม เราก็หวังว่าจะได้ทำให้ความคิดความหวังที่ทุกท่านต้องการเป็นไปได้จริงที่ญี่ปุ่น
สำนักงานบริหาร Japan Care Worker Guide
เสน่ห์แห่งญี่ปุ่น
ชิกิ (สี่ฤดู) ในญี่ปุ่น
เงินทองและการใช้ชีวิตในประเทศญี่ปุ่น
วิธีขึ้นโดยสารรถบัสในญี่ปุ่น
ระบบแรงงานทักษะเฉพาะทาง
ผู้มีอายุ 18 ปีขึ้นไปสามารถยื่นได้
ในการยื่นแรงงานทักษะเฉพาะทาง ไม่จำเป็นต้องใช้ประวัติการศึกษาใดๆ ดังนั้นไม่ได้ว่าใครก็ทำได้ ขอเพียงมีอายุ18ปีขึ้นไปค่ะ
เงินเดือนเทียบเท่าหรือมากกว่าคนญี่ปุ่น
ในส่วนของเงินเดือน รัฐบาลญี่ปุ่นได้มีคำสั่งให้ทำการจ่ายเงินเดือนให้กับชาวต่างชาติเช่นเดียวกันหรือสูงกว่าคนญี่ปุ่น นอกจากนี้ หากท่านต้องงานย้ายงาน ที่เป็นงานดูแลบริบาลเหมือนกัน สามารถโยกย้าย เปลี่ยนงานไปทำบริษัทอื่นได้เช่นกัน หรือก็คือ ทุกท่านสามารถไปทำงานสถานที่ต่างๆหลายที่ได้
มีการสนับสนุนในการทำงานที่ญี่ปุ่น
ไม่เพียงแต่การทำงานบริบาลเท่านั้น แต่ให้การสนับสนุนในหลากหลายด้าน รวมถึงปัญหาด้านภาษาและพื้นฐานการดำรงชีวิตด้วย
ระยะเวลาพำนัก 5 ปี
โดยพื้นฐานอนุญาตให้ทำงานในญี่ปุ่นได้เป็นเวลา 1 ปี แต่สามารถต่ออายุได้ทุก 6 เดือนหรือ 4 เดือนและขยายได้สูงสุด 5 ปี ในกรณีที่ได้รับวุฒิผู้ดูแลบริบาลที่ได้รับการรับรองภายใน 5 ปี
ไม่สามารถพาครอบครัวมาอยู่ที่ญี่ปุ่นด้วยกันได้
5 ปี และทำการเปลี่ยนสถานภาพการพำนักก็จะสามารถทำงานได้ตลอดไปและพาครอบครัวมาอาศัยอยู่ด้วยกันได้
ต้องสอบให้ผ่านทั้ง 3 การสอบ
การสอบประเมินทักษะเฉพาะทางสำหรับงานด้านดูแลบริบาลมีทั้งหมด 3 การสอบ คือ “การสอบประเมินทักษะการดูแลบริบาล” “การสอบประเมินทักษะภาษาญี่ปุ่นด้านการดูแลบริบาล” และการสอบวัดระดับมาตรฐานภาษาญี่ปุ่น
Interviews with foreign caregivers in Japan
Leonor Merie Ann De Leon
Year of arrival in Japan : 2018
Japanese skill : N3
Residence: Nagano Prefecture
Nguyen Thi Dong
Year of arrival in Japan : 2019
Japanese skill : N2
Residence: Yamaguchi Prefecture
Nguyen Thi y Thien
Year of arrival in Japan : 2019
Japanese skill : N3
Residence: Hyogo Prefecture
Kyi Kyi Khaine
Year of arrival in Japan : 2015
Japanese skill : N2
Residence: Hyogo Prefecture
Nguyen Thi Hoa
Year of arrival in Japan : 2019
Japanese skill : N2
Residence: Yamaguchi Prefecture
Cao Xuan Hoi
Year of arrival in Japan : 2019
Japanese skill : N1
Residence: Yamaguchi Prefecture
Monika Julia Wati
Year of arrival in Japan : 2018
Japanese skill : N3
Residence: Nagano Prefecture
La Thi Su
Year of arrival in Japan : 2021
Japanese skill : N3
Residence : Yamaguchi Prefecture
Tran Truc Nhu
Year of arrival in Japan : 2021
Japanese skill : N3
Residence: Yamaguchi Prefecture
Komang Ayu Purnama Dewi
Year of arrival in Japan : 2018
Japanese skill : N2
Residence: Okayama Prefecture
Kauindya Sithumini
Year of arrival in Japan : 2021
Japanese skill : JLPT N3
Residence: Nagasaki Prefecture
Moeurn Srey Pov
Year of arrival in Japan : 2020
Japanese skill : JLPT N4
Residence: Hokkaido
Nguyen Thi Thuy Linh
Year of arrival in Japan : 2019
Japanese skill : N2
Residence: Hokkaido
Lovely Estorgio
Year of arrival in Japan : 2016
Japanese skill : JLPT N3
Residence: Nagano Prefecture
Ry Sopheap
Year of arrival in Japan : 2020
Japanese skill : JLPT N3
Residence: Hokkaido
Marie Stella Vi S.Moreno
Year of arrival in Japan : 2016
Japanese skill : N2
Residence: Nagano Prefecture
Pornpanitta Torpithakpong
Year of arrival in Japan : 2019
Japanese skill : N2
Residence: Ibaraki Prefecture
Tran Thi Thu Hoai
Year of arrival in Japan : 2019
Japanese skill : JLPT N3
Residence: Hokkaido
Ashini Nimesha
Year of arrival in Japan : 2021
Japanese skill : JLPT N3
Residence: Nagasaki Prefecture
HAQUE MD ARIFUL
Year of arrival in Japan : 2018
Japanese skill : JLPT N2
งานดูแลบริบาล
วลีภาษาญี่ปุ่นที่ผู้ปฏิบัติงานดูแลบริบาลใช้ในการสนทนากับผู้สูงอายุ
บทสัมภาษณ์คนญี่ปุ่นที่ทำงานร่วมกับคนต่างชาติที่เป็นพนักงานดูแล 2
บทสัมภาษณ์คนญี่ปุ่นที่ทำงานร่วมกับคนต่างชาติที่เป็นพนักงานดูแล 1
เส้นทางสู่ญี่ปุ่น
ช่วงที่ 3: อนาคตและวิสัยทัศน์
ช่วงที่ 2: เสน่ห์ของการทำงานที่สถานที่ดูแลบริบาลและการพูดคุยสื่อสาร
ช่วงที่ 1: การบอกเล่าความรู้สึกที่มีต่อการทำงานในประเทศญี่ปุ่นและการสัมมนาของ JCWG
Online Seminar
”งานสัมมนากับโครงการ Japan Care Worker Guide” เป็นกิจกรรมสัมมนาออนไลน์เกี่ยวกับงานบริบาล โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ชีวิตในประเทศญี่ปุ่น และ ความเข้าใจเกี่ยวกับ “แรงงานทักษะพิเศษเฉพาะ” รวมถึงภายในงานจะมีการถามตอบ และพูดคุยกับผู้ที่มีประสบการณ์การทำงานด้านงานบริบาลที่ประเทศญี่ปุ่น เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ที่สนใจ เล็งเห็นถึงโอกาสการไปทำงานบริบาลที่ประเทศญี่ปุ่น
สำนักงานของ JCWG ได้จัดงานสัมมนาออนไลน์ไปยังประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกมาตั้งแต่ปี 2020 เชิญชมวิดีโออาร์ไคฟ์กันได้เลย
ประเด็นที่จะพูดคุยในงานสัมมนา
- แนะนำเสน่ห์ของประเทศญี่ปุ่น
- แนะนำสถานการณ์ ภาพรวมปัจจุบันของประเทศญี่ปุ่น
- เหตุผลว่าทำไมประเทศญี่ปุ่นถึงต้องการอาชีพงานบริบาล
- แนะนำเกี่ยวกับงานบริบาลของประเทศญี่ปุ่น(เช่น ขั้นตอนการทำงานมีอะไรบ้าง, การฝึกงาน เป็นต้น)
- แนะนำระบบแรงงานทักษะเฉพาะทาง
- แนะนำข้อมูลที่จำเป็นต่อการสอบ เช่น วิธีการเรียนภาษาญี่ปุ่น เป็นต้น
- ถาม-ตอบข้อสงสัย
สามารถดูข้อมูลการสัมมนาและงานอีเวนต์ล่าสุดได้ <ที่นี่>
Our Partners
ข้อความจากรุ่นพี่ชาวต่างชาติที่ทำงานในญี่ปุ่น
ถึงแม้ว่าจะมีเรื่องที่ยากลำบากหลาย ๆ อย่าง โดยเฉพาะเรื่องของภาษา แต่ฉันเชื่อว่าคุณจะมีความสุขที่ได้ทำงานในญี่ปุ่น คุณจะได้เรียนรู้สิ่งที่มีประโยชน์ในอนาคต รวมถึงจะได้สัมผัสถึงวัฒนธรรมในญี่ปุ่นและเพลิดเพลินไปกับอาหารแสนอร่อย มาผลักดันเป้าหมายของตัวเอง ศึกษาเล่าเรียนอย่างตั้งอกตั้งใจ และทำความฝันของตัวคุณเองให้เป็นจริงขึ้นมากันเลย
คุณสนใจมาทำงานในญี่ปุ่นไหม?
Japan Care Worker Guide เป็นโปรเจ็กต์สำหรับผู้ที่สนใจทดลองทำงานด้านการดูแลบริบาลในญี่ปุ่น เราขอแนะนำข้อมูลที่เป็นประโยชน์เกี่ยวกับระบบอาชีพทักษะเฉพาะ, งานดูแลบริบาล, การใช้ชีวิตในญี่ปุ่น และการเรียนภาษาญี่ปุ่นให้ทุกท่านเข้าใจได้ง่าย ๆ
เรานำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับประเทศญี่ปุ่นและงานดูแลบริบาลให้แก่แฟน ๆ นับแสนคนผ่านทาง Facebook
กรุณากด “ถูกใจ” และติดตามเพจของเรา
สถานภาพการพำนักนี้มี 2 ประเภท คือ ทักษะเฉพาะทาง (i) และทักษะเฉพาะทาง (ii) การดูแลบริบาลจะเป็นทักษะเฉพาะทาง (i) เท่านั้น
การสอบประเมินทักษะการดูแลบริบาลและการสอบประเมินทักษะภาษาญี่ปุ่นด้านการดูแลบริบาลเป็นการประเมินทักษะเฉพาะทางและความสามารถทางภาษาญี่ปุ่นสำหรับการทำงานในด้านดูแลบริบาล โดยจะกำหนดมาตรฐานตามระดับความพร้อมในการทำงานของแต่ละสาขา
ส่วนการสอบวัดระดับมาตรฐานภาษาญี่ปุ่นจะวัดโดย “การสอบพื้นฐานภาษาญี่ปุ่นของเจแปนฟาวน์เดชั่น” หรือ “การสอบวัดระดับภาษาญี่ปุ่น” (ต้องได้ระดับ N4 ขึ้นไป)